fbpx

Water, oil and grease can cause staining of your material. The biggest problems are caused during installation when the underlying cement full of water needs to dry. Normally evaporation takes place through the open joints.

Closing the joints too early blocks this pathway and the fluid finds its way through the stone. As many chemicals are carried by these fluids, immediate staining will take place on the surface.

Once the cement is totally dry, and the joints closed a decision needs to be made whether or not it is necessary to seal the surface of the stone.

There are two types of natural stone sealers available, water or solvent based. Each has its pro’s and con’s

Most water based sealers are easy to apply and they generally do not change the color of the material. They only offer short term protection though, especially if they are exposed to sunlight. Water based sealers should be reapplied every year on floors or every 3-6 months if the area is subject to heavy foot traffic. Water based sealer that are used outdoors should be reapplied every 3 months as they are exposed to direct sunlight and natures elements.

Solvent based sealers generally provide better and longer protection, but they will change the colour of the material creating a “wet look”. They tend to block natural evaporation through the stone and problems may arise if moisture is present below the surface.

Your stone supplier can inform you in greater detail about the potential staining risks during and after installation for the product you have selected.

 

น้ำ น้ำมัน และไขมันต่างๆ อาจเป็นสาเหตุทำให้เกิดคราบสกปรกบนพื้นผิววัสดุได้ ปัญหาใหญ่ที่สุดคือ เกิดระหว่างการติดตั้ง เมื่อปูนซีเมนต์ที่ใช้มีความชื้น และต้องการการระเหยให้แห้งสนิทหลังจากติดตั้ง

โดยปกติแล้วความชื้นจะถูกระเหยไปตามร่องเว้นหินแต่ละแผ่น ทั้งนี้การยาแนวเร็วเกินไปทำให้ปิดช่องทางการระเหยของน้ำและความชื้น ซึ่งทำให้ความชื้น น้ำ และสารเคมีต่างๆ เหล่านั้นเกิดปฎิกริยาทางเคมี จนทำให้เกิดคราบสกปรกผ่านออกมาทางหน้าหินในที่สุด

ทั้งนี้ทางที่ดีควรรอให้ปูนซีเมนต์แห้งสนิท แล้วจึงยาแนวร่องหิน และเคลือบน้ำยากันซึมเพื่อป้องกันการซึมผ่านของคราบสกปรกต่างๆ บนพื้นผิววัสดุ

โดยทั่วไปน้ำยากันซึมชนิดน้ำจะมีประสิทธิภาพในการทำงานเพียงช่วงระยะเวลาสั้นๆเท่านั้น โดยเฉพาะพื้นที่ที่ถูกแสงแดดมากๆ แต่ทั้งนี้น้ำยากันซึมชนิดประกอบด้วยสารระเหยจะมีคุณภาพและประสิทธิภาพในการทำงานสูงกว่า แต่จะทำให้สีของพื้นวัสดุเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ที่สำคัญนอกจากน้ำยากันซึมจะปิดกั้นการระเหยตามแบบธรรมชาติของหินแล้ว ยังก่อให้เกิดปัญหาใต้พื้นผิววัสดุได้ เนื่องจากหน้าหินถูกปิดทางระบายออก

ทั้งนี้ผู้จัดจำหน่าย ควรจะแนะนำและชี้ให้เห็นถึงคุณลักษระเฉพาะของหินแต่ละชนิด เพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น ซึ่งทั้งหมดนี้ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายๆอย่าง อาทิเช่น ชนิดของหิน ลักษณะการใช้งานในแต่ละพื้นที่ทั้งภายนอก และภายใน